The Aristocats - Marie
ยินดีต้อนรับ สู่บล็อกของ นางสาวธิดามาศ ศรีปาน เอกการศึกษาปฐมวัย วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ค่ะ

วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนวิชาวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
สัปดาห์ที่ 1 : อาจารย์ได้นำเนื้อหาเกี่ยวกับภาษามาสอนโดยมีหัวข้อต่างๆ  ดังนี้
   1.ความหมายของภาษา
   2.ความสำคัญของภาษา
   3.ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้
   4.วิธีการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย                               
   5.นักศึกษาทางด้านภาษา
   6.องค์ประกอบของภาษา
   7.หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษา 
สัปดาห์ที่ 2  :  เรื่องความหมายภาษ
      สิ่งที่ได้รับจากเรียนในวันนี้คือได้รู้จักความหมายของภาษา ว่า ภาษาหมายถึง การสื่อความหมาย ภาษาเป็นเครื่องมือในการแสดงความรู้สึกและความคิด ภาษามีความสำคัญมากเพราะเป็นเครื่องมือในการติอต่อสื่อสารกัน เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน และเป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงจิตใจ ทักษะการฟังประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน การดู และการเขียน มีความรู้เพิ่มเติมทฤษฎีของเพียเจต์ เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก 
1.กระบวนการดูดซึม คือ เด็กจะจดจำภาพต่างๆจากสิ่งแวดล้อมด้วยประสบการณ์เดิม เช่น มีปีก บินได้ เรียนว่านก เมื่อเด็กเห็นสิ่งที่มีพวกนี้เค้าก็จะเรียกว่านกทั้งหมด  2.การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ เด็กจะปรับความรู้เดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ที่ได้รับ เช่น มีปีก บินได้ มีปากแหลม ร้องเจี๊ยบๆ เรียนว่านก ถ้าเด็กเจอสัตว์ที่มีลัษระแบบนี้ก็จะเรียนว่านก  ทั้ง 2 ข้อนี้ควบคู่กัน เมื่อเกิดการดูดซึมและการปรับความเข้าใจของเด็กก็จะเกิดความสมดุลขึ้นในตัวเด็กกลายเป็นความคิดรวบยอดในสมอง และได้รู้ว่าเพียเจต์แบ่งพัฒนาการด้านสติปัญญาซึ้งมีความสัมพันธ์กับการใช้ภาษาออกเป็น 4 ขั้นพัฒนาการ พัฒนาการทางภาษาของเด็กจะค่อยๆสร้างความรู้ความเข้าใจเป็นลำดับขั้นครูหรือผู้สอนต้องเข้าใจและยอมรับในการสอนนั้นเราต้องสอนเมื่อเด็กพร้อมที่จะเรียน ดูความแตกต่างทางด้านพัฒนาการของเด็กในแต่ละคนเพราะเด็กแต่ละคนมีพัฒนาการแต่ละด้านไม่เท่ากันและสิ่งสำคัญคือเราต้องมีการให้แรงเสริม การให้แรงเสริมมีทั้งทางบวกและทางลบ เมื่อเด็กทำกิจกรรมได้เป็นอย่างดีเราต้องชมเชย แต่ถ้าทำไม่ได้เราก็ควรที่จะให้กำลังใจและส่งเสริมเด็ก
ความสำคัญของภาษา : 
1. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2.เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
3.เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
4.เป็นเครื่องมือช่วนจรรโลงจิตใจของมนุษย์เรา                      
ทักษะทางภาษา :
1.การฟัง ใช้หูในการรับรู้
2.การพูด ใช้ปากสื่อถึงบุคคลอื่น
3.การอ่าน การใช้สายตาเพื่อการรับรู้
4.การเขียน เขียนสื่อถุงบุคคลอื่น 
ส่วนสัปดาห์ที่  3:  คือไม่มีการเรียนการสอน
        สัปดาห์นี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีกิจกรรมรับน้องของมหาลัย  กิจกรรมครั้งที่ได้นำความรู้เรื่องของ  ภาษา  ที่ได้เรียนในสัปดาห์ที่แล้วมาใช้ในกิจกรรมด้วย
เช่น
      1. ได้ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารกับรุ่นน้องให้ทำตามในสิ่งที่เราต้องการได้
      2.  ได้ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการทำกิจกรรมเป็นทีมได้
อาทิตย์ที่ 4  คือ   สัปดาห์นี้ อาจารย์ได้ให้นำเสนอผลงานที่ได้แบ่งกลุ่มตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 แล้ว ทุกกลุ่มซึ่งกลุ่มดิฉันได้หัวข้อการเรียนรู้ของเด็ก กลุ่มดิฉันได้นำเสนอในรูปแบบ VDO
สัปดาห์ที่ 5 คือ  อาจารย์ได้ให้กลุ่มที่ยังไม่ได้นำเสนอผลงานจากการเรียนครั้งที่ 4 ให้ออกมานำเสนอต่อทุกกลุ่มจนหมด โดยเริ่มจาก
    1.การพัฒนาสติปัญญา  2-4  ปี
    2.ความหมายและความสำคัญของภาษา
    3.พัฒนาสติปัญญา  4-6  ปี
    4.ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้
    5.องค์ประกอบของภาษา
    6.การจัดประสบการณ์ทางภาษา
สัปดาห์ที่  1. อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม    แล้วถ่าย VDO  เพลงกล่อมเด็กพื้นบ้านมากลุ่มละ 1 เพลง
                      2.     หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้หาเพลงที่เราชอบ  โดยให้วิเคราะห์เนื้อหา  บอกวัตถุประสงค์  ความรู้สึกที่ฟัง 

สัปดาห์ที่ 8  สอบกลางภาค
สัปดาห์ที่ 9  อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับคำประสมต่างๆ
สัปดาห์ที่ 10 อาจารย์สอยเรื่องกิจกรรมอาเซียน โดยให้แบ่งกลุ่มกันทำ ดังนี้

กลุ่ม 1   หุ่นนิ้วมือ
ข้อดี  
   - สามารถนำมาร้องเพลงได้     

   - สามรถนำมาเล่านิทานได้
ข้อเสีย             
  -

กลุ่ม 2   ภาพชัก
ข้อดี   
 - สามารถนำมาเป็นสื่อสอนเรื่องประเทศต่างๆในอาเซียน 
           
  - สามรถนำมาเล่านิทานเกี่ยวกับปนะเทศในอาเซียนได้

ข้อเสีย   


- การเจะรูร้อยเอ็นควรประมาณให้ดีเพราะบางครั้งมันจะบังรูปเราได้

  - การมัดเอ็นหย่อนเกินไปทำให้หลุดได้


กลุ่ม 3   ป๊อปอัพอาเซีย

ข้อดี    
 สามารถนำมาเล่านิทานได้            


ข้อเสีย

 - ปัยหาการพับปากถ้าพับไม่ดีมันจะขาด

กลุ่ม 4   จับคู่ภาพ

ข้อดี   
  - นำไปใช้พัฒนาการด้สนภาษาเช่น ภาษากับธงชาติ
  - เรียนรู้เรื่องสีต่างๆ
         
สัปดาห์ที่ 11  อาจารย์สอนเรื่องความหมายสื่อ

        วัสดุอุปกรณ์หรือวิวัฒนาการณ์ เพื่อกระตุ้นส่งเสริม จูงใจ ให้เด็กสนใจ ด้วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือที่ครูกำหนดเพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเนื้อหา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ เจตคติ

ความสำคัญของสื่อ

-เด็กเรียนรู้การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5               -เข้าใจง่าย

-เป็นรูปธรรม                                                                -จำได้ง่าย และ เร็ว

ประเถทของสื่อ

1 สื่อสิ่งพิมพ์
คือใช้วิธีการพิมพ์ เด้กได้เรียนรู้ อักษร  ประโยชน์เช่น นิทาน หนังสือพิมพ์ ฯลฯ

สื่อวัสดุอุปกรณ์
คือ ของวัสดุต่างๆ ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผนภูมิ ตารางสถิติ กราฟ สมุดภาพ ฯลฯ

สื่อโสตทัศนูปกรณ์
คือสื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น ไอแพด ฯลฯ

4 สื่อกิจกรรม
คือวิธีการที่ใช้การฝึกปฏิบัติ ทักษะ ใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติการเผชิญสถานการณ์

5 สื่อบริบท
คือสื่อส่งเสริมดารจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน บุคคล ชุมชน วัฒนธรรม
สัปดาห์ที่ 12 อาจารสอนให้ร้องเพลงพร้อมท่าเต้นเพลงหนอนผีเสืื้อ 

จากนั้นก็ให้จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ คน ให้ช่วยกันคิดเพื่อทำสื่อการศึกษา ซึ่งกลุ่มดิฉันทำเรื่องป้ายคำศัพท์ โดยบอก

1.วัตถุประสงค์ 

2.วิธีการใช้สื่อ 

3.ประโยชน์ของสื่อ หลังจากนั้นให้ออกมาพรีเซ้นสื่อที่เราทำทุกคน

สัปดาห์ที13  อาจารย์สอนเรื่องการจักสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
สัปดาห์ที14  อาจารย์สอนเรื่องการจัดมุมห้องต่างๆ
สัปดาห์ที่ 15 กลุ่มทำกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้
กลุ่มดิฉันทำหน่วยการเรียนรู้ “ไก่”
สัปดาห์ที่ 16  อาจารย์โบว์ให้ทำ Mind  Map สรุปความรู้ที่ได้จากวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556

            

ครั้งที่  16

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 27  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 16 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


วันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอน  อาจารย์โบพูดคุยเกี่ยวกับเรื่อง Blogger  และเอารายชื่อมาให้ดูว่าใครมีปัญหาหรือทำไม่ครบ  แล้วให้นักศึกษาเขียนเบอร์โทรศัพท์ไว้เผื่อมีปัญหาอาจารย์  สุดท้ายอาจารย์โบก็พูดเรื่องสอบ 


กิจกรรมในวันนี้ 


อาจารย์โบว์ให้ทำ Mind  Map สรุปความรู้ที่ได้จากวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยได้ดังนี้ค่ะ





วัตถุประสงค์ของการทำ my map  คือ

 1. เพื่อสรุปเนื้อที่ได้เรียนในเทอมนี้
 2. เพื่อเป็นคะแนนช่วย
 3.ทำให้เราสามารถเข้าใจเนื้อหาที่เรียนได้รวดเร็วและง่ายขึ้น

วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่15

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 20  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 15 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


ครูโบเปิดวีดีโอให้ชม



จากนั้นแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้
กลุ่มดิฉันทำหน่วยการเรียนรู้ “ไก่”






ความรู้ที่ได้รับจากกิจกรรม

1. เกิดการจินตนาการในการเรียนรู้
2. การพูดคุยกันในกลุ่ม
3. ความสามัคคีในการทำงานร่วมกัน
4. ได้ฝึกทักษะและความรู้เรื่องการจัดประสบการณ์ให้เด็ก

ครั้งที่14

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่13  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 14 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.




วันนี้มีการเรียนเรื่องการจัดมุม และมีตัวอย่างให้นักศึกษาดู จากนั้น 

อาจารย์โบกให้คิดมุมในจินตนาการของแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 5 - 6 คน    


กลุ่มดิฉันนำเสนอ  "มุมพืชผักสวนครัว"














เมื่อวาดเสร็จก็นำเสนอหน้าชั้นเรียน



มุมพืชผักสวนครัวของกลุ่มสามารถให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ผักต่างๆและได้ลงมือปฏิบัติปลูกผักด้วย



วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่13

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 13 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.




การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


-สภาพแวดล้อมให้เด็กได้คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายขององค์รวม

-เด็กได้ทำกิจกรรมที่สงเสริมทัดษะทางภาษาโดยใช้เนื้อหาทางภาษา



หลักการและความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อม  (หรรษา นิลวิเชียน,2535)

-สอดคล้องกับวิชาการเรียนรู้ของเด็ก สงเสริมให้เด็กสำรวจ ปฏิบัติจริงเป็นผู้กระทำด้วยคนเองโดยเปิดอิสระให้เด็ก

-สิ่งแวดล้อมที่สงเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารสองทาง

-สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆโดยคำนึงถุงความหมายที่เด็ฏต้องการสื่อสารมากกว่าความถูกต้องทางไวทยากรณ์

-สิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้สนวาจาและไม่ใช่วาจาเด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิบัติหลายๆรูปแบบ


มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

. มุมหนังสือ
.มุมบทบาทสมมติ
.มุมศิลปะ
.มุมดนตรี
ฯลฯ

ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนที่สงเสริมทักษะทางภาษา

-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
-เด็กรู้สึกผ่อนคลาย
-บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียนเช่นดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
-เด็กมีส่วนในการวางแผนออกแบบ

 มุมหนังสือ
- มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสม
- มีบรรยากาศที่สงบอบอุ่น
- มีพื้นที่ในการอ่านกหนังสือลำพังและเป็นกลุ่ม
- มีอุปกรณ์สำหรับเขียน

มุมบทบาทสมมติ

- มีอุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กดข้าไปเล่นได้
- มีพื้นที่เพียงพอ

มุมศิลปะ

- มีวัสดุอุปกรณ์หลากหลายเช่น ดินสอ สี ยางลบ ตรายาง ฯลฯ
- อกรรไกรไว้สำหรับงานตัดและปะติด
- มีพื้นที่เด็กได้จัดกิจกรรม

มุมดนตรี

- มีเครื่องดนตรีทั้งเป็นของเล่นและของจริง เช่นกลอง ฉิ่ง ระนาด ฯลฯ
- สื่อจริง
- สื่อจำลอง
- ภาพถ่าย
- ภาพโครงร่าง
- สัญลักษณ์